สารและสมบัติของสาร


หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.        จากแบบจำลองอะตอมทั้ง 3 แบบ ข้อใดเป็นแบบจำลองอะตอมของดอลตัน แบบจำลองอะตอม
            ของรัทเทอร์ฟอร์ด และแบบจำลองอะตอมของทอมสัน ตามลำดับ

           ก.        I   II   III                                                              ข.    II   III   I     
            ค.    II    I    III                                                               ง.        III   I   II

2.  สัญลักษณ์ของธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอน = 91 จำนวนนิวตรอน = 140   คือข้อใด
   ก.  91Pa140  
   ข.  140Pa91
   ค. 231Pa91
    ง.  91Pa231

3.   12C6  และ 24Mg12   สองอะตอมนี้มีอะไรเหมือนกัน
  ก.  จำนวนโปรตอน
  ข. จำนวนนิวตรอน
   ค.  จำนวนโปรตอนเท่ากับนิวตรอน 
   ง.   ผลรวมนิวตรอนกับโปรตอน

            จากข้อมูลที่กำหนดให้ จงพิจารณาแล้วตอบคำถามข้อ 4 – 5
จากข้อมูลที่กำหนดให้ จงพิจารณาแล้วตอบคำถามข้อ 4 – 5
4.        ข้อใดเป็นไอโซบาร์กัน
            ก.    13C6 และ 14C6  
            ข. 12C6 และ 16C8     
            ค.    14C6 และ 14N7    
            ง.    14C6และ 16O6
5.        ข้อใดเป็นไอโซโทนกัน
            ก.    13C6 และ  14N7   
            ข. 12C6 และ  14N7  
            ค. 14C6 และ 14N7   
            ง.    14N7 และ 16O6

6.        ข้อใดที่อะตอมของธาตุ มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนมากที่สุด จากธาตุที่มีเลขอะตอมต่อไปนี้
            ก. 4       
            ข. 7     
            ค. 11   
          ง.   12

7.        ธาตุที่อยู่คาบ 3 หมู่ 4 จะมีเลขอะตอมเท่าใด
          ก.  14   
          ข.  21 
           ค. 31 
           ง.  32

8.    ธาตุในข้อที่อยู่ในคาบเดียวกัน และอยู่ในหมู่ 2 – 5
            ก.    20R , 36Q    
            ข.    13X , 33Y  
            ค.    37Z  ,  38Q  
            ง.    33Y  ,  20R

9.    ธาตุสมมติ 117A  ควรจะแสดงเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับเท่าไร
            ก.    1                                 ข. 3   
            ค.  5                                   ง.    7

10.      ธาตุ K , L และ M มีเลขอะตอม 10 , 14 และ 20 ตามลำดับ ธาตุทั้ง 3 ควรอยู่ในหมู่ใด  และคาบใด  ตามลำดับ
            ก.    หมู่  2, 4 , 8  และคาบ  2, 3, 4 
            ข. หมู่  4 , 8 , 2 และคาบ  3, 2, 4
            ค. หมู่  4 , 2, 8  และคาบ  4, 3 , 2 
            ง.    หมู่  8, 4 , 2  และคาบ  2, 3, 4


หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
พันธะเคมี
คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.               สารในข้อใดจัดอยู่ในประเภทเดียวกัน
ก.       NaCl , HCl             ข.   CaO , AlCl3    
ค.   CH3OH , NaOH       ง.   MgSO4 , BeCl2

2.               ข้อใดเป็นสารประกอบไอออนิกทั้งหมด
        ก.  CCl4 , BeCl2                      ข.   CaS , NaCl     
.   LiF , HCN                         ง.   NH4Cl , KCN , PCl3
3.    ถ้า A , B , C และ D มีเลขอะตอมเท่ากับ 34 , 35 , 38  และ 53 ตามลำดับ เมื่อรวมกันเป็นสารประกอบ
       ข้อใดถูกต้อง
ก.       ระหว่างธาตุ B กับธาตุ C เกิดสารประกอบไอออนิก  มีสูตรเป็น CB2
ข.       ระหว่างธาตุ B กับธาตุ D เกิดสารประกอบไอออนิก  มีสูตรเป็น BD
ค.       ระหว่างธาตุ A กับธาตุ D เกิดสารประกอบไอออนิก  มีสูตรเป็น AD2
ง.        ระหว่างธาตุ A กับธาตุ C เกิดสารประกอบไอออนิก  มีสูตรเป็น AC

4.     ธาตุที่สร้างพันธะโคเวเลนซ์กับคลอรีนได้ดีที่สุด คือธาตุใด
        ก.   โซเดียม                            ข.   คลอรีน      
        ค.   โพแทสเซียม                    ง.   แมกนีเซียม

5.     ถ้าธาตุ X มีเลขอะตอม 14 และธาตุ Y มีเลขอะตอม 8 เมื่อเกิดสารประกอบจะได้สูตรข้อใด
        ก.   XY                                  ข.   X2Y   
        ค.   XY2                                ง.   X2Y3  

6.     A เป็นธาตุที่มีการจัดอิเล็กตรอนเป็น 2 , 8 , 6 เมื่อรวมกับธาตุ B ได้สารประกอบที่มีสูตร AB2    
        ธาตุ B ควรมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่าใด
              ก.       1                                        ข.   2  
ค.   3                                         ง.   4

7.     ถ้า X และ Y   มีการจัดอิเล็กตรอนเป็น 2 , 8 , 8 ,1 และ 2 , 8 , 6 สารประกอบระหว่าง X และ Y ควรมี
        ลักษณะเป็นอย่างไร
ก.       XY2                                   ข.   X – Y – X 
ค.   X2+(Y-)2                              ง.   (X+)2Y2-

8.     เกลือ NaCl ที่อุณหภูมิปกติ มีสมบัติอย่างใด
        ก.   นำไฟฟ้าได้ดี                     ข.   จุดหลอมเหลวสูง  
        ค.   มีความดันไอสูง                ง.   ถูกทุกข้อ

9.     ข้อใดเป็นสมบัติเฉพาะตัวของของแข็งชนิดไอออนิก
        ก.   เป็นผลึก       
        ข.   ละลายในน้ำได้   
        ค.   มีจุดหลอมเหลวสูง    
        ง.   นำไฟฟ้าเมื่อหลอมเหลว

10. ถ้า X และ Y แทนธาตุ ซึ่งมีเลขอะตอม 9 และ 20 ตามลำดับ สารประกอบระหว่างธาตุทั้ง 2 จะมีพันธะ
        ชนิดใด และมีสูตรเป็นอย่างไร
ก.       โคเวเลนซ์  Y2X            ข. ไอออนิก  Y2X  
ค.   ไอออนิก  YX2              ง.  โคเวเลนซ์  YX2


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
ปฏิกิริยาเคมี
คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.   การเปลี่ยนแปลงสิ่งใดใช้เป็นตัวบ่งชี้ว่าเกิดปฏิกิริยาเคมีไม่ได้
        ก.  สี                                   ข.   เขม่า ควัน 
        ค. อุณหภูมิ                         ง.   ฟองแก๊ส   
       
2.   ปัจจัยใดเป็นผลจากธรรมชาติของสารตั้งต้น
  ก.   ความต่างของขนาดอนุภาค 
  ข.   ความต่างของพันธะ
 ค.   ความต่างของมวลของอนุภาค
  ง.   ชนิดของธาตุที่เข้าทำปฏิกิริยา
        
3.    มีปฏิกิริยาระหว่างของแข็งกับแก๊สชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ถ้าต้องการทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น ควรทำตามปัจจัยใด
ก.   ลดความดันของแก๊ส    
 ข.   ลดอุณหภูมิ
.   ลดขนาดของของแข็ง
ง.   รักษาความดันให้คงที่
4.   ถ้าต้องการให้โลหะอะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับกรดให้เร็วขึ้น ควรเพิ่มปัจจัยในข้อใด
ก.   ความดัน
ข.   พื้นที่ผิวของภาชนะ
.   พื้นที่ผิวของโลหะ
ง.   ลดอุณหภูมิ
5.    การเปลี่ยนแปลงใดเป็นการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก.   เกลือละลายน้ำ
ข.   การตกผลึกของน้ำปลา  
.   การบูดของอาหาร
ง.   การทาสี

6. ข้อใดเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
ก.   การเผาไหม้           
 ข.   การระเบิด
.   เกิดน้ำข้างภาชนะที่ผสมสารเคมี                                    ง.   การจุดเทียนไข
        
7.   ข้อใดไม่ใช่ผลของตัวเร่ง
ก.   การย่อยอาหาร                       
ข.   การกินยาฆ่าเชื้อ
.   การหมักเนื้อด้วยน้ำผลไม้      
ง.   การทำเหล้าไวน์

8.    ข้อใดที่ความเข้มข้นมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก.   กรดกัดทอง                                                                     ข.   การทำน้ำอัดลม
.   การหมักไวน์
 ง.   การย่อยอาหาร
        
9.   ในการหมักไวน์ ถ้าจะเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยาควรเพิ่มปัจจัยใด
ก.   ความเข็มข้น                        ข.   ความดัน
.   พื้นที่ผิว                               ง.   อุณหภูมิ
        
10.   ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี คือ
ก.       ความเข้มข้น  ความดัน  ตัวเร่ง  ธรรมชาติของสาร      
.   พันธะโคเวเลนซ์  อุณหภูมิ  ความเข้มข้น  ความดัน  
ค.   อุณหภูมิ  ความเข้มข้น  พื้นที่ผิว  ตัวเร่ง   ธรรมชาติของสาร               
ง.    อุณหภูมิ  พันธะโคเวเลนซ์  พื้นที่ผิว  ตัวเร่ง


หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
ปิโตรเคมีภัณฑ์
คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.  ไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอน      
        ก.   CH3CH2CH3                           
       ข.   (CH3)3CH
        ค.   CH3COOH




2.  ข้อใดเป็นหมู่ฟังก์ชันของแอลกอฮอล์และกรดอินทรีย์ ตามลำดับ
        ก.   ไฮดรอกซิล , คาร์บอกซิล
        ข.   คาร์บอกซิล , ไฮดรอกซิล
        ค.   คาร์บอนิล , คาร์บอกซิล
       ง.   ไฮดรอกซิล , คาร์บอนิล
 3.     แอลกอฮอล์ที่มีโครงสร้าง  CH3CH2OH มีชื่อว่า
ก.   เมทานอล                      
ข.   เอทานอล                                       
ค.   โพรพานอล                                   
ง.   บิวทานอล
 4.   สารที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างกรดอินทรีย์กับแอลกอฮอล์ คือ
ก.   เอสเทอร์                         
ข.   พอลิเมอร์                                       
ค.   โปรตีน                                          
ง.   แก๊สโซฮอล์
 5.   ข้อใดเรียงลำดับจุดเดือดของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมได้ถูกต้อง
       ก.   แก๊สโซลีน  น้ำมันหล่อลื่น แก๊สปิโตรเลียม
        ข.   ดีเซล  แก๊สปิโตรเลียม  น้ำมันหล่อลื่น
       ค.   บิทูเมน  แนฟทา  น้ำมันหล่อลื่น                           
        ง.   แก๊สโซลีน  ดีเซล  น้ำมันหล่อลื่น

6.    ไม่ใช่กลุ่มแก๊สธรรมชาติ
       ก.   มีเทน
       ข.   ออกเทน
       ค.   บิวเทน
       ง.   เพนเทน
7.  ข้อใดไม่ใช่พลังงานทดแทนจากธรรมชาติโดยตรง
       ก.   แสงอาทิตย์                       
       ข.   น้ำ                                                                             
       ค.   นิวเคลียร์                                                 
       ง.   ลม
8.   ข้อใดเป็นชื่อของปฏิกิริยาที่สร้างพอลิเมอร์
       ก.   ไฮโดรจิเนชัน                    
       ข.   พอลิเมอไรเซชัน                            
       ค.   แฮโลจิเนชัน                                            
       ง.   วัลคาไนเซชัน
9.  ข้อใดไม่ใช่โครงสร้างของพอลิเมอร์
       ก.   แบบเส้น                            
       ข.   แบบกิ่ง                                                    
       ค.   แบบร่างแห                                              
       ง.   แบบขนาน
10. ข้อใดไม่ใช่ปฏิกิริยาสร้างพอลิเมอร์
       ก.   แบบเติม                              
       ข.   แบบควบแน่น                                
       ค.   แบบขจัด                                                 
       ง.   ทั้ง ก และ ข


หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
สารชีวโมเลกุล
คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.  ข้อใดเป็นหมู่ฟังก์ชันที่พบเฉพาะในมอนอแซ็กคาไรด์          
            ก.   อัลดีไฮด์                      ข.   คีโทน 
         ค.   ไฮดรอกซิล                    ง.   ทั้ง ก และ ข              
2.  ข้อใดเป็นมอนอแซ็กคาไรด์ที่มีหมู่คีโทนเป็นหมู่ฟังก์ชัน
            ก.   กลูโคส                        ข.   ฟรักโทส 
          ค.   กาแลกโทส                   ง.   ไรโบส
3. ข้อใดไม่ใช่ พอลิแซ็กคาไรด์สะสม
            ก.   แป้ง                              ข.   เซลลูโลส  
          ค.   ไกลโคเจน                    ง.   อะไมโลเพคติน
4.  สาเหตุการเหม็นหืนของไขมันหรือน้ำมัน คือ ข้อใด
          ก.   ไฮโดรลิซิส                 ข.   เอสเทอริฟิเคชัน  
          ค.   ออกซิเดชัน                   ง.   ทั้ง ก และ ค
5. การทำไขมันไม่อิ่มตัวให้เป็นไขมันอิ่มตัวใช้ปฏิกิริยาในข้อใด
          ก.   ไฮโดรลิซิส                
         ข.   เอสเทอริฟิเคชัน            
          ค.   ออกซิเดชัน                  
          ง.   ไฮโดรจิเนชัน
6.  สบู่เกิดจากสารคู่ใด
            ก.   เกลือโซเดียมกับกรดไขมัน      
            ข.   ไขมันกับเบส             
            ค.   น้ำมันกับโซเดียม       
            ง.   โซดาซักผ้ากับไขมัน

7.  โปรตีนเชิงเดี่ยว หมายถึงข้อใด
            ก.   โปรตีนที่ประกอบด้วยกรดอะมิโนเพียงอย่างเดียว        
            ข.   โปรตีนที่ประกอบด้วยกรดอะมิโนและส่วนที่ไม่ใช่กรดอะมิโน                                  
            ค.   โปรตีนที่ประกอบด้วยกรดอะมิโนเพียงชนิดเดียว  
            ง.   โปรตีนที่ประกอบด้วยกรดอะมิโนหลายชนิด       
8.  การทดสอบไบยูเร็ต ใช้ตรวจสิ่งใดในโครงสร้างของโปรตีน
            ก.   ประเภทของโปรตีน 
            ข.   ชนิดของกรดอะมิโน
            ค.   พันธะเพปไทด์           
            ง.   จำนวนของเพปไทด์
9.  จะใช้เกณฑ์ในโครงสร้างของกรดอะมิโนส่วนใดในการแยกประเภท
            ก.   หมู่กรดอะมิโน                    
            ข.   หมู่คาร์บอกซิล                                                      
            ค.  หมู่ R 
            ง.   ส่วนประกอบทั้งหมด
10.       หน่วยย่อยของกรดนิวคลีอิก คืออะไร
            ก.   กรดอะมิโน                         
            ข.   นิวคลีโอไทด์                                                         
            ค.   หมู่ฟอสเฟต                                                            
            ง.   ไรโบส


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น