แบบทดสอบเคมี

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
ปฏิบัติการเคมีเบื้องต้น
คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. สัญลักษณ์ต่อไปนี้ ตรงกับข้อใด
 
1. เป็นพิษ                    2. กัดกร่อน                 
       3. ระคายเคือง               4. เป็นอันตราย
       5. สารออกซิไดซ์            
2.   สัญลักษณ์ต่อไปนี้ ตรงกับข้อใด
  
      1. ไวไฟ                       2. ระเบิดได้ 
     3. ระคายเคือง                4. เป็นพิษมาก
     5. เป็นอันตราย
3.   อุปกรณ์ใดที่ช่วยบอกค่ามวลของสาร
1. ปิเปตต์                     
2. เครื่องชั่ง
3. โวลต์มิเตอร์              
4. เทอร์มอมิเตอร์
5. เครื่องยิงเลเซอร์         
4.  ใครเลือกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ได้      ไม่เหมาะสมกับงาน         
1. ศิริชัยใช้แท่งแก้วคนสารละลาย
2. ธิติใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดความดันอากาศ
3. จิรภัทร์ใช้แอมป์มิเตอร์วัดค่ากระแสไฟฟ้า
4. พงศกรใช้เครื่องชั่งดิจิทัลชั่งสารในการทดลอง
     5. อาทิตย์ใช้กระดาษลิตมัสตรวจสอบค่า pH ของสาร
5. ใครทำการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อเกิดอุบัติเหตุในห้องปฏิบัติการไม่ถูกต้อง
1. นิวนำเพื่อนส่งแพทย์ทันทีเมื่อเพื่อนกลืนกินสารเคมี
2. นิดล้างตาด้วยน้ำสะอาดปริมาณมากเมื่อมีสารเข้าตา
3. หน่อยเอามือปิดจมูกไว้แน่น ๆ เมื่อสูดดมไอหรือแก๊ส
4. นกรีบยกสะพานไฟลงทันทีเมื่อเพื่อนถูกกระแสไฟฟ้าดูด
5. น้อยนำเพื่อนส่งโรงพยาบาลทันทีเมื่อมีสารเคมีถูก
    ผิวหนังเพื่อนปริมาณมาก

6.   ข้อใดไม่ใช่หน่วยวัดในระบบ SI
1. โมล                         2. เคลวิน         
3. วินาที                       4. ไมล์ทะเล
5. แคนเดลา
7.   แก๊สออกซิเจน 3 โมล มีปริมาตรกี่ลิตร ที่ STP
     1. 22.4 ลิตร ที่ STP     
     2. 44.8 ลิตร ที่ STP
     3. 67.2 ลิตร ที่ STP
     4. 22,400 ลิตร ที่ STP
     5. 67,200ลิตร ที่ STP
8.  การแปลความหมายข้อมูลที่ได้จากการทดลอง ซึ่งมักจะมีการใช้ค่าทางสถิติเข้าช่วย คือวิธีการทางวิทยาศาสตร์ข้อใด
     1. การบันทึกข้อมูล       
2. การตั้งสมมติฐาน
3. การกำหนดปัญหา
4. การวิเคราะห์ข้อมูล   
5. การตรวจสอบสมมติฐาน
9.  ข้อใดไม่ควรปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
     1. ไม่หยอกล้อกันขณะทำการทดลอง
     2. ไม่เทสารเคมีที่เหลือกลับไปในขวดเดิม
     3. อย่าให้มือเปียกขณะใช้งานอุปกรณ์ทางไฟฟ้า
     4. ไม่ทำการทดลองในห้องปฏิบัติการเพียงลำพัง
     5. สูดดมสารเคมีในห้องทดลองเพื่อระบุประเภทของ
         สารเคมี
 10.   อุปกรณ์ใดไม่จำเป็นต้องใช้ในการเตรียมสารละลาย
      1. บิวเรต
      2. บีกเกอร์
      3. ลูกยางดูด
      4. กระบอกตวง
      5. ขวดวัดปริมาตร


หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
อะตอมและตารางธาตุ
คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ใครนำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับอะตอมว่า “อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีขนาดเล็กมากอยู่ตรงกลาง และมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก โดยมีอิเล็กตรอนวิ่งอยู่บริเวณรอบๆ”
     1. นีลส์ โบร์               
     2. จอห์น ดอลตัน
     3. เซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสัน
     4. ลอร์ด เออร์เนส รัทเทอร์ฟอร์ด
     5. ดิมิทรี อิวาโนวิช เมนเดเลเยฟ
2. ผลการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดในข้อใดไม่สอดคล้องกับแบบจำลองอะตอมของทอมสัน
     1. อนุภาคแอลฟาบางอนุภาคถูกดูดกลืน
     2. อนุภาคแอลฟาวิ่งชนแผ่นทองคำแล้วสะท้อนกลับ
     3. อนุภาคแอลฟาผ่านทะลุแผ่นทองคำมีลักษณะเป็นเส้นตรง
     4. อนุภาคแอลฟาผ่านทะลุแผ่นทองคำไปได้ แต่มีการเบี่ยงเบน
     5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
3.  ถ้าธาตุชนิดหนึ่งมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 และอยู่ในระดับพลังงาน n = 3 ธาตุนี้จะมีเลขอะตอมเท่าใด
     1. 2                                    2. 12
     3. 20                                  4. 38
     5. 56
4.  ธาตุที่มีการจัดอิเล็กตรอนเป็น 2  8  18  8  1 จะมีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนและมีเลขอะตอมเท่าใด ตามลำดับ
     1. 1 และ 19                      2. 5 และ 19                
     3. 1 และ 37                      4. 5 และ 37                
     5. 1 และ 55 
5.  ตารางธาตุของจอห์น นิวแลนด์ เรียงลำดับธาตุตามสมบัติในข้อใด
    1. เลขอะตอม                     2. มวลอะตอม
    3. สมบัติของธาตุ                 4. จำนวนนิวตรอน
    5. จำนวนอิเล็กตรอน

6.  อิเล็กโทรเนกาติวิตีของธาตุในข้อใดเพิ่มขึ้น ตามลำดับ
     1. N  C  B                        
     2. F  O  Be
     3. O  S  Se                     
     4. Rb  K  Na
     5. Be  Mg  Ca
7.  ธาตุใดมีขนาดอะตอมใหญ่ที่สุด
     1. โบรมีน                         
     2. คริปทอน
     3. แคลเซียม                      
     4. โพแทสเซียม
     5. เจอร์เมเนียม
8.  ธาตุในข้อใดไม่จัดเป็นโลหะแทรนซิชัน
     1. เหล็ก (Fe)                     
     2. สังกะสี (Zn)
     3. โครเมียม (Cr)                 
     4. ทองแดง (Cu)          
     5. อะลูมิเนียม (Al)
9.  ข้อใดเรียงลำดับอำนาจทะลุทะลวงผ่านของกัมมันตภาพรังสีจากน้อยไปมากได้ถูกต้อง
     1. บีตา แอลฟา แกมมา
     2. แอลฟา บีตา แกมมา
     3. แกมมา บีตา แอลฟา
     4. บีตา แกมมา แอลฟา
     5. แอลฟา แกมมา บีตา
10. ข้อใดคือประโยชน์ของธาตุสังกะสี
     1. ใช้ทำสายไฟฟ้า
     2. ใช้ทำกล่องถ่านไฟฉาย
     3. ใช้บรรจุในหลอดไฟฟ้า
     4. ใช้ทำกระป๋องบรรจุอาหาร
     5. ควบคุมการทำงานของระบบประสาท


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
พันธะเคมี
คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.  โมเลกุล CH4  SiCl4  NaCl และ NH3 มีจำนวนพันธะโคเวเลนต์กี่พันธะ ตามลำดับ
     1. 4, 3, 0, 3                      
     2. 4, 4, 0, 3
     3. 5, 4, 1, 0                      
     4. 5, 5, 2, 4
     5. 6, 3, 1, 0
2.  ธาตุใดเกิดพันธะโคเวเลนต์กับธาตุคลอรีนได้ดีที่สุด
    1. C                               2. F
    3. Cs                             4. Na
    5. Ra
3.  สารโคเวเลนต์ชนิดหนึ่งมีสูตร AH3 มีรูปร่างเป็นสามเหลี่ยมแบนราบ และอะตอม A ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว ข้อใดน่าจะเป็นสมบัติของสาร AH3
     1. เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว แต่มีจุดเดือดสูง
     2. เป็นโมเลกุลมีขั้ว ละลายน้ำ จุดเดือดต่ำ
     3. เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว แต่เกิดพันธะไฮโดรเจนได้
     4. เกิดพันธะไฮโดรเจน จุดเดือดสูง และละลายน้ำได้
     5. เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว และมีแรงแวนเดอร์วาลส์  
        (ลอนดอน) เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
4.  ข้อใดคือสูตรของสารประกอบเมอร์คิวรีซัลไฟด์
     1. KBr                             2. HgS
     3. PbS                            4. ZnCl
     5. CuCl
5.  ข้อใดไม่ใช่แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
     1. แรงลอนดอน
     2. พันธะไฮโดรเจน
     3. พันธะโคเวเลนต์
     4. แรงแวนเดอร์วาลส์
     5. แรงดึงดูดระหว่างขั้ว

6.  พันธะไอออนิกเป็นพันธะที่เกิดขึ้นระหว่างธาตุชนิดใด
     1. ธาตุโลหะกับธาตุโลหะ
     2. ธาตุโลหะกับธาตุอโลหะ
     3. ธาตุโลหะกับธาตุกึ่งโลหะ
     4. ธาตุอโลหะกับธาตุอโลหะ
     5. ธาตุกึ่งโลหะกับธาตุกึ่งโลหะ
7.   ผสมสารละลาย AlCl3 กับสารละลาย NaOH สมการ
     ไอออนิกคือข้อใด
     1. Al+ (aq) + OH- (aq) à AlOH (s)
     2. Na+ (aq) + Cl- (aq) à NaCl (aq)
     3. Al3+ (aq) + Cl- (aq) à AlCl3 (aq)
     4. 3Na+ (aq) + Cl3- (aq) à 3NaCl (aq)
     5. Al3+ (aq) + 3OH- (aq) à Al(OH)3 (s)
8.  ข้อใดไม่ใช่สมบัติของสารประกอบไอออนิก
     1. มีความแข็ง แต่เปราะ                       
     2. มีการจัดเรียงตัวเป็นผลึก
3. ในสภาพของแข็งไม่นำไฟฟ้า
4. ตีเป็นแผ่นหรือยืดเป็นเส้นได้                      
     5. มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง
9.  พันธะที่เกิดจากเวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอม
    เคลื่อนที่ไปรอบอะตอมอื่น ๆ ทั่วทั้งก้อนได้คือพันธะใด
     1. พันธะโลหะ
     2. พันธะอโลหะ
     3. พันธะโคเวเลนต์
     4. พันธะไอออนิก
     5. พันธะไออนิกและพันธะโลหะ
10. ข้อใดไม่ใช่สมบัติทั่วไปของโลหะ
     1. มันวาว                      2. นำไฟฟ้าได้
     3. เกิดเสียงสะท้อน           4. มีความยืดหยุ่นสูง
     5. ความหนาแน่นสูง

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
ปริมาณสัมพันธ์
คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.   สารในข้อใดต่อไปนี้เป็นโมเลกุล
     1. H2                       2. Na
     3. Cu                      4. Fe
     5. Ni
2.  1.66 × 10-24 กรัม มีค่าเท่ากับข้อใด
     1. 1 ppm                 
     2. 1 ppb
     3. 1 aum                
     4. 1 amu
     5. 1 STP
3.  ธาตุ A มีมวลอะตอมเท่ากับ 48 ธาตุ X 4 อะตอม จะมีมวลเท่าใด
     1. 48 กรัม
     2. 192 กรัม
     3. 48 × 1.66  × 10-24 กรัม
     4. 48 × 6.02 × 1023 กรัม
     5. 192 × 1.66 × 10-24 กรัม
4.  ธาตุ Z 3 อะตอม มีมวลเท่ากับ 75 × 1.66 × 10-24 กรัม อยากทราบว่าธาตุ Z มีมวลอะตอมเท่าใด
     1. 25
     2. 75
     3. 25 × 1.66 × 10-24  
     4. 75 × 1.66 × 10-24  
     5. 225 × 1.66 × 10-24  
5.  ธาตุ Y ในธรรมชาติมี 2 ไอโซโทป  มีมวลอะตอม 39.00 และ 40.00 ตามลำดับ จงหาร้อยละโดยมวลของแต่ละไอโซโทป เมื่อธาตุ Y มีมวลอะตอมเฉลี่ยเท่ากับ 39.25
     1. ร้อยละ 15 ร้อยละ 85 โดยมวล ตามลำดับ
     2. ร้อยละ 25 ร้อยละ 75 โดยมวล ตามลำดับ
     3. ร้อยละ 75 ร้อยละ 25 โดยมวล ตามลำดับ
     4. ร้อยละ 85 ร้อยละ 15 โดยมวล ตามลำดับ
     5. ร้อยละ 90 ร้อยละ 10 โดยมวล ตามลำดับ

6จงหามวลโมเลกุลของ CoSO4•7H2O (มวลอะตอม   O = 16, S = 32, H = 1, Co = 59)
     1. 155                       2. 173
     3. 281                       4. 365  
     5. 562
7.  แก๊สแอมโมเนีย 1.806 × 1023 โมเลกุล มีกี่โมล
     1. 0.1                        2. 0.3
     3. 1                          4. 1.5
     5. 3
8.  หินปูน 0.5 โมล มีกี่โมเลกุล
     1. 3.01 × 1022
     2. 3.01 × 1023
     3. 6.02 × 1022
       4. 1.204 × 1022
     5. 1.204 × 1023
9 H2CO3 5 โมเลกุล หนักกี่กรัม (มวลอะตอม H = 1,   C = 12, O = 16)
     1. 62
     2. 310
     3. 62 × 1.66 × 10-24
     4. 310 × 1.66 × 10-24
     5. 310 × 6.02 × 10-23
10. กรดฟอสฟอริก (H3PO4) เป็นกรดที่ใช้ในการซักล้าง กรดนี้จะมีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบร้อยละเท่าใดโดยมวล (มวลอะตอม H = 1, P = 31, O = 16)
     1. 45.34                   
     2. 56.78           
     3. 65.31                   
     4. 71.23
     5. 82.54


หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
สารละลาย
คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.   สารละลาย NaOH เข้มข้นร้อยละ 20 โดยมวล และมีความหนาแน่น 2 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร จะมีความเข้มข้นกี่โมแลล
     1. 4.5                       2. 5.2
     3. 6.7                       4. 7.1
     5. 8.3
2.  จากสารละลายกรดไนตริก (HNO3) เข้มข้นร้อยละ 38 โดยมวล มี HNO3 อยู่ 10.0 กรัม จงคำนวณหาจำนวนกรัมของสารละลายกรดไนตริกนี้
     1. 16.3                      
     2. 26.3
     3. 36.3                      
     4. 46.3
     5. 56.3
3.  สารละลายประกอบด้วยน้ำ 36.0 กรัม และสาร X 46.0 กรัม เศษส่วนโมลของน้ำเท่ากับ 0.8 มวลโมเลกุลของสาร X เป็นเท่าใด
     1. 36                         2. 46
     3. 69                         4. 84
     5. 92
4.  ผสมสารละลายกรดชนิดเดียวกัน 2 ขวด ที่มีความเข้มข้น 0.1 โมลาร์ ปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร กับความเข้มข้น 0.3 โมลาร์ ปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร อยากทราบว่าสารละลายใหม่จะมีความเข้มข้นเท่าใดในหน่วยโมลาร์
     1. 0.2                        
     2. 0.3
     3. 0.4                         
     4. 0.5
     5. 0.6
5.  ต้องการเตรียมสารละลาย NaCl เข้มข้นร้อยละ 15 โดยมวล จะต้องใช้ NaCl กี่กรัม ละลายในน้ำ 100 กรัม  
     1. 15.00                     2. 17.65
     3. 20.25                     4. 21.75
     5. 25.50

6เอทานอลบริสุทธิ์มีจุดเดือด 78.35C และมีค่า Kbเท่ากับ 1.20C/m จงคำนวณหาสูตรโมเลกุลของน้ำตาลชนิดหนึ่งที่มี C 40.0% H 6.7% และ O 53.3% โดยมวล ในสารละลายที่มีน้ำตาลชนิดนี้ 11.7 กรัม ในเอทานอล 325 กรัม ที่จุดเดือด 78.59C
     1. CH2O                      2. C4H8O4
     3. C6H12O6                  4. C6H12O8
     5. C12H22O11
7.  จงคำนวณความเข้มข้นเป็นโมลาลิตีของสารละลายที่มีน้ำตาลซูโครส (C12H22O11) จำนวน 20.0 กรัม ละลายในน้ำ 125.0 กรัม
     1. 0.468                    2. 0.512
     3. 0.578                    4. 0.623
     5. 0.687
8.  ในสารละลาย 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร มี K2SO4 ละลายอยู่ 43.5 กรัม จงคำนวณหาความเข้มข้นในหน่วยร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร
     1. 6.7                       2. 7.2
     3. 7.8                            4. 8.7
     5. 9.4
9ละลายสารประกอบเกลือของโพแทสเซียม (KX) จำนวน 8.00 กรัม ในน้ำ 100 กรัม สารละลายนี้แข็งตัวที่ -1.25C จงหาว่า X คือธาตุใดของหมู่ 7A
     1. I                            2. F
     3. Br                          4. Cl
     5. At
10. จะต้องใช้ C6H12O6 กี่กรัม เพื่อเตรียมสารละลาย C6H12O6 เข้มข้นร้อยละ 5 โดยมวลต่อปริมาตร ปริมาตร 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร
     1. 1.25              2. 2.5              3. 12.5
     4. 25.0              5. 27.5


หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี
คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.   FeCl3(s) + H2O (l)  Fe(OH)3 (s) + HCl (aq) เมื่อดุลสมการแล้ว เลขสัมประสิทธิ์หน้าสารแต่ละตัวจะเป็นเท่าใด ตามลำดับ
     1. 1  3  1  3             
     2. 1  1  3  3
     3. 1  3  3  1              
     4. 3  1  3  1
     5. 3  1  1  3
2.  2C (s) + O2 (g) 2CO (g) ถ้าเผาคาร์บอน 1.5 โมล จะได้แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์กี่ลิตร ที่ STP (มวลอะตอมของ C = 12  O = 16)
     1. 11.2                     2. 22.4
     3. 33.6                     4. 44.8
     5. 56.0
3.  นำเผา KClO3 จำนวนหนึ่งมาเผา พบว่า เกิดแก๊ส O2 67.2 ลิตร ที่ STP KClO3 ที่นำมาเผาคิดเป็นกี่กรัม (มวลอะตอมของ K = 39 Cl = 35.5 O = 16)
     1. 122.5                    
     2. 245.0
     3. 367.5                    
     4. 490.0
     5. 612.5
4.  Fe2O3 (s) + 3CO (g) 2Fe (s) + 3CO2 (g) จาก
ปฏิกิริยา เมื่อนำ Fe2O3 40.0 กรัม มาทำปฏิกิริยากับ CO 15.0 กรัม จะเกิด CO2 กี่ลิตร ที่ STP  (มวลอะตอมของ Fe = 55.8 O = 16  C = 12)
     1. 0.5600                  
     2. 1.1200
     3. 1.2096                  
     4. 11.200
     5. 12.096
5.  Mg (s) + ½O2 (g) MgO (s) จากปฏิกิริยา เมื่อนำแมกนีเซียม 100.0 กรัม และแก๊สออกซิเจน 5.0 โมล มาทำปฏิกิริยากัน สารใดเป็นสารกำหนดปริมาณ (มวลอะตอมของ Mg = 24.3  O = 16)
     1. O2
     2. Mg
     3. MgO2
     4. O2 และ Mg
     5. ไม่มีสารใดเป็นสารกำหนดปริมาณ

6.  2CH3CHO (l) + O2 (g) 2CH3COOH (l) จากปฏิกิริยา ถ้านำ CH3CHO 1.135 โมล มาทำปฏิกิริยากับ O2 48 กรัม ปรากฏว่า เกิด CH3COOH 45 กรัม ผลได้ร้อยละของปฏิกิริยานี้มีค่าเท่าใด (มวลอะตอมของ C = 12 H = 1  O = 16)
     1. 12.50                  
     2. 25.00
     3. 33.99                   
     4. 50.00
     5. 66.01
7.  เมื่อนำ Ca 60 กรัม และแก๊ส N2 42 กรัม มาทำปฏิกิริยากัน เกิดเป็น Ca3N2 อยากทราบว่าเมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดลง จะเกิด Ca3N2 กี่กรัม (มวลอะตอมของ Ca = 40  N = 14)
     1. 3.7                     2. 7.4
     3. 37                      4. 74  
     5. 148
8.  จากปฏิกิริยา 3MnO2 (s) Mn3O4 (s) + O2 (g) เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดลง พบว่า เกิดแก๊ส O2 48 กรัม ซึ่งเกิดจากการสลายตัวของ MnO2 กี่กรัม (มวลอะตอมของ Mn = 55  O = 16)
     1. 87.0                    2. 130.5
     3. 261.0                   4. 348.0
     5. 391.5
9ถ้าต้องการเผาไหมแกส CH4 ปริมาตร 1,344 ลิตร ให้สมบูรณ ที่ STP โดยใช้ O2 มากเกินพอ จะเกิดแกส CO2 กี่กรัม ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็น ดังนี้
CH4 (g) + 2O2 (g) CO2 (g) + 2H2O (g)
     1. 132                    2. 264
     3. 1,320                  4. 2,640
     5. 5,280
10. CaC2 (s) + 2H2O (l) Ca(OH)2 (aq) + C2H2 (g) ถ้าใช้ CaC2 256 กรัม ทำปฏิกิริยากับน้ำที่มีปริมาณมากเกินพอ จะเกิด C2H2 กี่ลิตร ที่ STP (มวลอะตอมของ Ca = 40  C = 12  H = 1  O = 16)
     1. 22.4                   2. 44.8
     3. 89.6                    4. 134.4
     5. 179.2


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น