ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
โลกและการเปลี่ยนแปลง

คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1.    ข้อใด ไม่อยู่ ในบริเวณที่เรียกว่า วงแหวนแห่งไฟ (ring of fire)”
        ก.    บริเวณด้านตะวันตกของประเทศเม็กซิโก
        ข.    บริเวณรอยต่อภูเขาแอลป์และภูเขาหิมาลัย
        ค.    บริเวณขอบมหาสมุทรแปซิฟิกทั้งหมด
        ง.    ประเทศญี่ปุ่นทั้งหมด
2.    หินของภูเขาใดต่อไปนี้  ไม่ใช่ หินภูเขาไฟ
        ก.    ดอยผาคอกหินฟู  จังหวัดลำปาง
        ข.    ภูพระอังคาร จังหวัดบุรีรัมย์
        ค.    ภูเขาพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์
        ง.    ภูชี้ฟ้า จังหวัดเชียงราย
3.    ตามทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค  (plate tectonics)  ข้อใด ไม่ได้ รวมอยู่ในทวีป กอนด์วานา
        ก.    ทวีปอินเดีย
        ข.    ทวีปแอฟริกา
        ค.    ทวีปอเมริกาเหนือ
        ง.    ทวีปออสเตรเลีย
4.    การเกิดสึนามิ  เมื่อวันที่  26  ธันวาคม  2547  เกิดจากการชนของแผ่นทวีปใด
        ก.    แผ่นทวีปอินเดียน - ออสเตรเลียน กับแผ่นยูเรเซียน
        ข.    แผ่นอินโดนีเซีย  กับแผ่นแปซิฟิก
        ค.    แผ่นยูเรเซียน  กับแผ่นแปซิฟิก
        ง.    แผ่นอินโดนีเซีย กับ แผ่นฟิลิปปินส์
5.    นักธรณีวิทยา ใช้วิธีใดในการหาอายุหินตะกอน
        ก.  โดยใช้วิธีกัมมันตรังสีหาอายุของหิน
        ข.  โดยการค้นหาซากดึกดำบรรพ์ เช่น ไทรโลไบต์
        ค.   ใช้วิธีกัมมันตภาพรังสี C-14  หาอายุซากดึกดำบรรพ์
        ง.    ใช้ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาของหิน

6.    สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เริ่มเพิ่มจำนวนแฟมิลี่อย่างรวดเร็วในยุคใด
        ก.    เทอร์เชียรี
        ข.    ไซลูเรียน
        ค.    พรีแคมเบรียน
        ง.    คาร์บอนิเฟอรัส
7.    การพบหลักฐานในข้อใดที่แสดงว่าในอดีตประเทศไทยเคยมีภูเขาไฟในบางพื้นที่
        ก.    น้ำพุร้อน
        ข.    หินแกรนิต
        ค.    หินบะซอลต์
        ง.    รอยแตกเลื่อนของชั้นหิน
8.    ธรณีภาค  มีความหมายตรงกับข้อใด
        ก.    ชั้นในเนื้อโลกทั้งหมดกับชั้นเปลือกโลก
        ข.    ชั้นเนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลก
        ค.    ชั้นเนื้อโลกส่วนล่างกับชั้นแก่นโลก              
        ง.    ชั้นเปลือกโลกเพียงอย่างเดียว
9.    มาตราที่ใช้บอกความเสียหายเนื่องจากแผ่นดินไหว คือข้อใด
        ก.    โมห์
        ข.    ริกเตอร์
        ค.    เมอร์คัลลี
        ง.    เวนส์เวอร์ด
10.  บริเวณหุบเขาทรุดตัวตามแนวสันเขากลางมหาสมุทร  มีการเคลื่อนตัวของขอบแผ่นธรณีภาค 
        ในลักษณะใดที่สำคัญ
        ก.    เคลื่อนตัวหนีห่างออกจากกัน
        ข.    เคลื่อนตัวมุดลงไปใต้อีกแผ่น
        ค.    เคลื่อนตัวเข้าหากัน
        ง.    เคลื่อนตัวเฉือนกัน



หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
การศึกษาเกี่ยวกับโลก
คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
จากรูป เป็นวัฏจักรของหิน  ให้นักเรียนใช้ตอบคำถามข้อ  1- 4
1.     ข้อใด กล่าวผิด
        ก.    รูป  ก   เป็นหินชั้น
        ข.    รูป  ข   เป็นหินชั้น
        ค.    รูป  ค   เป็นหินหนืด
        ง.     รูป  ง   เป็นหินอัคนี
2.     หินตามข้อใดที่เกิดจากการผุกร่อนของหินชนิดอื่น
        ก.    หินในข้อ ก
        ข.    หินในข้อ ข
        ค.    หินในข้อ ง
        ง.     หินในข้อ จ
3.     จากวัฏจักร  นักเรียนจะเห็นว่าหินตะกอนมีโอกาสในการกลายเป็นหินหนืดน้อยมาก เพราะเหตุใด
        ก.    หินตะกอนเป็นหินลำดับสุดท้าย
        ข.    หินตะกอนอยู่เฉพาะบนภูเขาสูง
        ค.    หินตะกอนมีความหนาแน่นต่ำกว่าหินชนิดอื่น และเป็นหินใหม่
        ง.     หินตะกอนพบเฉพาะในภาคพื้นมหาสมุทร จึงไม่มีโอกาสจมเป็นหินหนืด
4.     ข้อใดกล่าวถูกต้อง
        ก.    เมื่อหินหนืดผุกร่อน  จะได้หินตะกอน
        ข.    หินหนืดเกิดจากความร้อน และความดันทำให้หินตะกอนร้อนจนเป็นหินหนืด
        ค.    หินแปรเกิดจากการแปรสภาพของหินหนืด  ที่ได้รับความร้อนและความดันจากแกนโลก
        ง.     เมื่อแผ่นธรณีภาคชนกัน แผ่นที่มุดตัวลงจะถูกความร้อนหลอมเหลวจนกลายเป็นหินหนืด 
                เมื่อหินหนืดเย็นตัวลงจะกลายเป็นหินอัคนีเท่านั้น


5.     นักธรณีวิทยา ใช้วิธีใดในการหาอายุหินตะกอน
        ก.    โดยใช้วิธีกัมมันตรังสีหาอายุของหิน
        ข.    โดยการค้นหาซากดึกดำบรรพ์ เช่น  ไทรโลไบต์
        ค.    ใช้วิธีกัมมันตภาพรังสี C – 14 หาอายุซากดึกดำบรรพ์
        ง.     ใช้ลักษณะโครสร้างทางธรณีวิทยาของหิน
6.     สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เริ่มเพิ่มจำนวนแฟมิลี่อย่างรวดเร็วในยุคใด
        ก.    เทอร์เชียรี
        ข.    ไซลูเรียน
        ค.    พรีแคมเบรียน
        ง.     คาร์บอนิเฟอรัส
7.     การพบหลักฐานในข้อใดที่แสดงว่าในอดีตประเทศไทยเคยมีภูเขาไฟในบางพื้นที่
        ก.    น้ำพุร้อน
        ข.    หินแกรนิต
        ค.    หินบะซอลต์
        ง.     รอยแตกเลื่อนของชั้นหิน
8.     ทดลองหยดกรดเกลือเจือจางลงบนหินชนิดหนึ่ง แล้วจะเกิดฟองขึ้น  แสดงว่าเป็นหินชนิดใด
        ก.    หินปูน                              ข.  หินทราย
        ค.    หินดินดาน                        ง.  หินแกรนิต
9.     ซากดึกดำบรรพ์ไดโนเสาร์ของประเทศไทย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบในหินชนิดใด
        ก.    หินปูน
        ข.    หินทราย
        ค.    หินดินดาน
        ง.     หินบะซอลต์
10.   นักเรียนเรียงลำดับมหายุคต่อไปนี้ ข้อใดเรียงถูกต้องจากอายุน้อยไปมาก
        ก.    ยุคซีโนโซอิก   ยุคมีโซโซอิก   ยุคพาลีโอโซอิก   ยุคพรีแคมเบรียน
        ข.    ยุคพรีแคมเบรียน  ยุคพาลีโอโซอิก   ยุคมีโซโซอิก  ยุคซีโนโซอิก
        ค.    ยุคพาลีโอโซอิก    ยุคมีโซโซอิก   ยุคซีโนโซอิก   ยุคพรีแคมเบรียน
    ง.  ยุคซีโนโซอิก  ยุคพาลีโอโซอิก   ยุคพรีแคมเบรียน    ยุคมีโซโซอิก


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
เอกภพ  กาแล็กซี  และระบบสุริยะ
คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1.             เรียงลำดับการกำเนิดเอกภพได้ถูกต้อง
       ก.    ก้อนพลังงานที่มีความหนาแน่นสูง Þ อนุภาคมูลฐาน Þ  อะตอมของธาตุไฮโดรเจน
        และธาตุฮีเลียม Þ เนบิวลา Þ
         กาแล็กซี Þ  ดาวฤกษ์
ข.    ก้อนพลังงานที่มีความหนาแน่นสูง Þ                    อนุภาคมูลฐานÞ  ดาวฤกษ์ Þ  
อะตอมของธาตุไฮโดรเจน และธาตุฮีเลียม Þ                 เนบิวลา  Þ  กาแล็กซี
ค.      กาแล็กซี Þ  ก้อนพลังงานที่มีความหนาแน่นสูง Þ อนุภาคมูลฐานÞ  
       ดาวฤกษ์  Þ  อะตอมของธาตุไฮโดรเจน และธาตุฮีเลียม Þ เนบิวลา 
ง.       กาแล็กซี Þ  อนุภาคมูลฐานÞ  อะตอมของธาตุไฮโดรเจน และธาตุฮีเลียม Þ  ก้อนพลังงานที่มีความหนาแน่นสูง Þ ดาวฤกษ์ Þ  เนบิวลา

        2.    ข้อใดมีการเรียงลำดับการวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ได้ถูกต้อง
       ก.      อนุภาคมูลฐาน Þ  อะตอมของธาตุไฮโดรเจน                       และธาตุฮีเลียม Þ  เนบิวลา  Þ                          กาแล็กซี  Þ ก้อนพลังงานที่มีความหนาแน่นสูง
               Þ ดาวฤกษ์
       ข.    ก้อนพลังงานที่มีความหนาแน่นสูง Þ อนุภาคมูลฐาน Þ  อะตอมของธาตุไฮโดรเจน
                        และธาตุฮีเลียม Þ เนบิวลา  Þ  กาแล็กซี Þ  ดาวฤกษ์
                ค.    ก้อนพลังงานที่มีความหนาแน่นสูง Þ อนุภาคมูลฐาน Þ  อะตอมของธาตุไฮโดรเจน
                        และธาตุฮีเลียม Þ เนบิวลา  Þ  ดาวฤกษ์ Þ  กาแล็กซี
                ง.    ก้อนพลังงานที่มีความหนาแน่นสูง Þ อะตอมของธาตุไฮโดรเจน Þอนุภาคมูลฐาน
                        Þ  ธาตุฮีเลียม Þ เนบิวลา  Þ  กาแล็กซี Þ  ดาวฤกษ์

        3.    ข้อใดคือ อนุภาคมูลฐานทั้งหมด
         ก.    โปรตอน  ควาร์ก  มิวออน
         ข.    นิวตรอน  เทา นิวทริโนชนิดมิวออน
         ค.    ฮาร์ดรอน  นิวทริโนชนิดเทา  ควาร์ก
         ง.    อิเล็กตรอน  ควาร์ก  นิวทริโนชนิดมิวออน


       

       
4.    ข้อใดอธิบายวิวัฒนาการของดวงอาทิตย์ได้ถูกต้อง
                ก.    อนุภาคมูลฐาน Þ  อะตอมของธาตุไฮโดรเจน และธาตุฮีเลียม Þ เนบิวลา  Þ  กาแล็กซี
                        Þ  ก้อนพลังงานที่มีความหนาแน่นสูง Þ ดาวฤกษ์ Þ เนบิวลาดวงอาทิตย์ดั้งเดิมเริ่มก่อตัว
ข.    ก้อนพลังงานที่มีความหนาแน่นสูง Þ อนุภาคมูลฐาน Þ  อะตอมของธาตุไฮโดรเจน
        และธาตุฮีเลียม Þ เนบิวลา  Þ  ดาวฤกษ์Þ เนบิวลาดวงอาทิตย์ดั้งเดิมเริ่มก่อตัว
ค.    ก้อนพลังงานที่มีความหนาแน่นสูง Þ อนุภาคมูลฐาน Þ  อะตอมของธาตุไฮโดรเจน
        และธาตุฮีเลียม Þ เนบิวลา  Þ  กาแล็กซี Þ  ดาวฤกษ์Þ เนบิวลาดวงอาทิตย์ดั้งเดิม
        เริ่มก่อตัว
ง.    ก้อนพลังงานที่มีความหนาแน่นสูง Þ อะตอมของธาตุไฮโดรเจน Þอนุภาคมูลฐาน
        Þ  ธาตุฮีเลียม Þ เนบิวลา  Þ  กาแล็กซี Þ  ดาวฤกษ์ Þเนบิวลาดวงอาทิตย์ดั้งเดิม
                        เริ่มก่อตัว
5.    ดวงอาทิตย์ได้พลังงานจากปฏิกิริยาหรือปรากฏการณ์ข้อใด
                ก.    การรวมตัวของนิวเคลียส H และ He
                ข.    การแตกตัวของนิวเคลียสใหญ่
                ค.    การเผาไหม้อย่างต่อเนื่อง
                ง.    การระเบิดอย่างต่อเนื่อง
6.    ข้อใดจัดเป็นดาวเคราะห์ชั้นนอกทั้งหมด
                ก.    ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวศุกร์
                ข.    ดาวเนปจูน ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส
                ค.    ดาวเสาร์ ดาวพฤหัสบดี ดาวยูเรนัส
                ง.    ดาวพฤหัสบดี ดาวอังคาร ดาวยูเรนัส
7.    ข้อใดเป็นสมบัติของ ดาวเคราะห์ยักษ์ ของดวงอาทิตย์
                ก.    มีแสงสว่างในตัวเอง
                ข.    มีความหนาแน่นสูงมาก
                ค.    ประกอบด้วยหินเป็นส่วนใหญ่
                ง.    ประกอบด้วยไฮโดรเจนและฮีเลียมเป็นส่วนใหญ่
8.  ข้อใดคือจุดจบของดาวฤกษ์ที่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์มาก ๆ
                        ก.    เนบิวลา
                        ข.    หลุมดำ
                        ค.    ดาวแคระดำ
                        ง.    ดาวยักษ์แดง
9.  ตามทฤษฎีบิกแบงอะตอมธาตุใด ที่เป็นธาตุแรกที่เกิดขึ้นในเอกภพ
                        ก.    นิวเคลียสของฮีเลียม
                        ข.    อะตอมของธาตุฮีเลียม
                        ค.    อะตอมของธาตุไฮโดรเจน
                        ง.    อะตอมของธาตุไนโตรเจน
10. ธาตุใดที่พบมากที่สุดในเอกภพ
                        ก.    ไนโตรเจน
                        ข.    ไฮโดรเจน
                        ค.    ออกซิเจน
                        ง.    ฮีเลียม   



หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
ดาวฤกษ์
คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1.    พลังงานจากดาวฤกษ์ เป็นพลังงานนิวเคลียร์  พลังงานนิวเคลียร์บนดาวฤกษ์เป็นนิวเคลียร์ชนิดใด
        ก.    นิวเคลียร์และนิวเคลียร์ฟิวชัน
        ข.    นิวเคลียร์ฟิวชัน
        ค.    นิวเคลียร์ฟิชชัน
        ง.    นิวเคลียร์

2.    ข้อใดกล่าวผิด
        ก.    ดาวฤกษ์กลุ่ม B  มีสีฟ้า หรือ  ขาวน้ำเงิน
        ข.    ดาวที่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ ถือเป็นดาวฤกษ์ขนาดใหญ่
        ค.    หลุมดำเป็นวิวัฒนาการสุดท้ายของดาวฤกษ์ที่มีขนาดมวลน้อยกว่าดวงอาทิตย์  0.8 เท่า
        ง.    วิวัฒนาการสุดท้ายของดาวฤกษ์ที่มีมวลขนาดใหญ่กว่าดวงอาทิตย์  1.4 3 เท่า คือ  ดาวนิวตรอน
       
3.    ข้อใดกล่าวถูกต้อง
        ก.    ดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิที่ผิวสูง  มีอายุยืนที่สุด
        ข.    ดาวฤกษ์สีเหลืองอุณหภูมิที่ผิวมากที่สุด
        ค.    ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ขนาดกลาง
        ง.    สีของดาวฤกษ์กลุ่ม O  คือ สีขาว
       
4.    จงเรียงลำดับวิวัฒนาการดาวฤกษ์ที่มีขนาดมวล มากกว่า 3 เท่า ของมวลดวงอาทิตย์
        ก.    เนบิวลา  Þ ดาวฤกษ์ก่อนเกิด Þ  ดาวฤกษ์  Þ ดาวยักษ์แดงขนาดใหญ่มาก
                Þ ซูเปอร์โนวา Þ ดาวแคระน้ำตาล
ข.      เนบิวลา  Þ ดาวฤกษ์ก่อนเกิด Þ  ดาวฤกษ์  Þ ดาวยักษ์แดงขนาดใหญ่มาก
                Þ ซูเปอร์โนวา Þ ดาวแคระขาว
ค.      เนบิวลา  Þ ดาวฤกษ์ก่อนเกิด Þ  ดาวฤกษ์  Þ ดาวยักษ์แดงขนาดใหญ่มาก
                Þ ซูเปอร์โนวา Þ ดาวนิวตรอน
ง.       เนบิวลา  Þ ดาวฤกษ์ก่อนเกิด Þ  ดาวฤกษ์  Þ ดาวยักษ์แดงขนาดใหญ่มาก
Þ ซูเปอร์โนวา Þ หลุมดำ

5.    จุดสุดท้ายของดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อยกว่าดวงอาทิตย์ คือข้อใด
        ก.    ดาวแคระน้ำตาล         ข.    ดาวแคระขาว
        ค.    ดาวนิวตรอน               ง.    หลุมดำ
6.    ข้อใดคือจุดสุดท้ายของวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ที่มีมวลมากกว่า 3 เท่าของมวลดวงอาทิตย์
        ก.    ดาวแคระน้ำตาล 
        ข.    ดาวแคระขาว
        ค.    ดาวนิวตรอน  
        ง.    หลุมดำ
7.    ดาวฤกษ์ขนาดมวลกี่เท่าของมวลดวงอาทิตย์จึงจะมีจุดจบของวิวัฒนาการเป็น ดาวนิวตรอน
        ก.    0.1 เท่า                        ข.    1  เท่า  
        ค.    1.4 -3  เท่า                   ง.    3 เท่าขึ้นไป
8.    ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างความสว่างกับอายุของดาวฤกษ์
        ก.    ดาวฤกษ์ที่สว่างมาก  อายุของดาวจะอายุยืนด้วย
        ข.    ดาวฤกษ์ที่สว่างมาก คือ ดาวฤกษ์ที่มีอายุไม่ยืน
        ค.    ดาวฤกษ์ที่สว่างมาก  อายุของดาวมากด้วย
        ง.    ดาวฤกษ์ที่สว่างมาก  คือ ดาวที่มีอายุน้อย      
9.    ข้อใดอธิบาย Supernova  ได้ถูกต้อง
        ก.    ดาวฤกษ์จะหดตัวลงเนื่องจากแรงโน้มถ่วง หลังจากนั้นดาวจะเย็นตัวลงอย่างช้า ๆ
        ข.    ผิวชั้นนอกเกิดการขยายตัวและเย็นตัวลงอย่างรวดเร็ว  กระจายออกสู่อวกาศกลายเป็น
เนบิวลาดาวเคราะห์
        ค.    เกิดการยุบตัวของธาตุเบา ทำให้เกิดคลื่นกระแทกออกไปสู่ผิวดาวชั้นนอกจนเกิดการระเบิด
                ของผิวดาวออกไป
        ง.    ดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อยกว่าดวงอาทิตย์ 0.8 เท่า  เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่ใจกลางดาวแล้วระเบิดออกมา
10.  ข้อใดหมายถึง อันดับความสว่าง
        ก.    ดาวสีเหลืองมีอุณหภูมิสูงที่สุด
        ข.    ตัวเลขที่มีค่ามาก คือ ดาวที่มีความสว่างมาก
        ค.    ตัวเลขที่มีค่าติดลบ  คือ ดาวที่ดับแล้วจนเย็นตัว
        ง.    ตัวเลขค่าน้อยบ่งบอกว่าดาวดวงนั้นสว่างมาก









ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น